Tag: กฎหมาย DPS

ETDA เตรียมออก ‘Code of Conduct’ ของกฎหมาย DPS

  ชวนฟอลโล่อัพ “กฎหมาย DPS” เตรียมออก Code of Conduct เพิ่มความชัดเจน กำกับ-ดูแลแพลตฟอร์มดิจิทัล   หากพูดถึง กฎหมายที่ทันสมัยทันกับวิถีชีวิต ที่ปัจจุบันหลายกิจกรรมต่างขับเคลื่อนด้วยแพลตฟอร์มดิจิทัลแล้ว เชื่อว่า หลายคนคงนึกถึงกฎหมายไหนไม่ได้ นอกจาก “กฎหมาย DPS (Digital Platform Services)” หรือชื่อทางการคือ “พระราชกฤษฎีกา การประกอบธุรกิจบริการแพลตฟอร์มดิจิทัลที่ต้องแจ้งให้ทราบ

ETDA เตรียมประกาศ T&C ให้ผู้ใช้บริการทราบ ตามที่กฎหมาย DPS กำหนด

  สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) หรือ ETDA  กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เผย ผู้ประกอบธุรกิจแพลตฟอร์มดิจิทัล ที่มีลักษณะตามมาตรา 16 ภายใต้กฎหมาย DPS จะต้องเตรียมประกาศข้อตกลงและเงื่อนไขการให้บริการ หรือ Terms & Conditions (T&C)   อาทิ เงื่อนไขการให้บริการ การระงับ การคิดค่าบริการ การจัด Ranking

ETDA เผยมี 835 แพลตฟอร์มแจ้งข้อมูลตามกฎหมาย DPS แล้ว

  ETDA เผยหลังพ้นกำหนดการแจ้งการประกอบธุรกิจ สำหรับแพลตฟอร์มดิจิทัลทั่วไป ตามมาตรา 8 วรรคหนึ่งแล้ว มีแพลตฟอร์มดิจิทัลแจ้งข้อมูล ทั้งสิ้น 835 แพลตฟอร์ม “จาก 15 ประเภทบริการแพลตฟอร์มดิจิทัล” ทั้งไทย-ต่างชาติ ให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่   สำหรับแพลตฟอร์ม ที่ยังไม่ได้แจ้งตามกำหนด ETDA เตรียมส่งหนังสือ เพื่อให้แพลตฟอร์มชี้แจงเหตุผล ก่อนดำเนินการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง   นายชัยชนะ

ดีอี-ETDA หารือร่วม ‘ผู้แทนทางการทูตไทย’ แจงกฎหมาย DPS

  กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) โดย สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) หรือ ETDA หารือร่วมกับ ผู้แทนทางการทูตของไทย กว่า 10 ประเทศ ทำความเข้าใจถึงสาระสำคัญและขอบเขตของกฎหมาย DPS   สู่การร่วมผลักดันให้ธุรกิจบริการแพลตฟอร์มดิจิทัลต่างชาติ รีบเข้ามาแจ้งข้อมูลการประกอบธุรกิจ ก่อนหมดเขต 18 พ.ย.นี้   นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

ETDA เผยแพลตฟอร์มดิจิทัล 15 ประเภทที่ต้องแจ้งข้อมูลให้ทัน 18 พ.ย. 66

  สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) หรือ ETDA (เอ็ตด้า) เปิดเวที Workshop ให้กับสำนักงานทนายความ ที่ปรึกษาด้านกฎหมาย และนักกฎหมาย เร่งทำความเข้าใจนิยาม ตลอดจนขอบเขตกฎหมาย DPS เพื่อประโยชน์ในการให้คำปรึกษาของที่ปรึกษาแก่ธุรกิจบริการแพลตฟอร์มดิจิทัลได้ชัดเจนมากขึ้น   ย้ำการแจ้งข้อมูลไม่จำกัดแค่ Online Marketplace แต่ยังครอบคลุมแพลตฟอร์มดิจิทัลอีก 15 ประเภท ที่ต้องเข้ามาแจ้งให้แล้วเสร็จก่อน 18 พฤศจิกายน

ETDA เปิดวิธีการแจ้งข้อมูลกฎหมาย DPS ไม่ยาก รีบลงทะเบียนก่อนสาย!

  ไทยมีกฎหมายบริการแพลตฟอร์มดิจิทัล หรือชื่อทางการคือ พระราชกฤษฎีกา การประกอบธุรกิจบริการแพลตฟอร์มดิจิทัล ที่ต้องแจ้งให้ทราบ พ.ศ. 2565 บังคับใช้อย่างเป็นทางการเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 21 สิงหาคมที่ผ่านมา เรียกว่าเป็นการเอาจริงของภาครัฐ ในการช่วยคุ้มครองผู้ใช้บริการแพลตฟอร์มดิจิทัลลดความเสี่ยงจากการฉ้อโกงออนไลน์   ดังนั้น กฎหมายนี้จึงเป็นอะไรที่น่าจับตามองมาก เพราะว่าผู้ใช้บริการ ผู้บริโภคอย่างเราก็จะได้รับความเป็นธรรมในการใช้งานแพลตฟอร์ม หากเกิดปัญหาขึ้นก็จะมีที่รับแจ้งปัญหาอย่างถูกต้อง สามารถติดตามปัญหาที่เกิดขึ้นได้ ส่วนทางแพลตฟอร์มเองก็จะได้รับความไว้วางใจจากเหล่าพ่อค้าแม่ค้า ผู้ใช้บริการมากขึ้น เพราะมีการดูแล  

“กฎหมาย DPS” มีแล้วใครได้ประโยชน์ ผู้ใช้บริการแพลตฟอร์มดิจิทัลต้องรู้

  หากถามว่าวันนี้ เมื่อพูดถึงกฎหมายฉบับใหม่ที่มาแรงและทุกคนต่างสนใจคือฉบับไหน? แน่นอนว่า ณ เวลานี้คงหนีไม่พ้น “กฎหมาย DPS” (Digital Platform Services) หรือที่รู้จักกันในชื่อ พ.ร.ฎ.การประกอบธุรกิจบริการแพลตฟอร์มดิจิทัลที่ต้องแจ้งให้ทราบ พ.ศ. 2565 ที่จะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 21 สิงหาคม 2566 ที่จะถึงนี้   แน่นอนว่าในมุมของผู้ที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย อย่างผู้ให้บริการ หรือผู้ประกอบธุรกิจบริการแพตลฟอร์มดิจิทัลนั้น คงติดตามความเคลื่อนไหวและมีการทำความเข้าใจกับกฎหมายฉบับนี้มาอย่างต่อเนื่อง

Scroll to Top